บัณฑิตก่อนเที่ยงคืน

อีกไม่กี่นาทีก็จะถึงเที่ยงคืน ในยามนี้อ่านหนังสือเพียงลำพัง  และเลือก บัณฑิตก่อนเที่ยงคืน เป็นเพื่อน

เรื่องนี้  แปลจาก โย่ว ผู-ถวน ของ ลี่ หยู โดยคุณ ชลันธร แปลเป็นไทยว่า ” อาสนะแห่งเลือดเนื้อ” หรือ “เสื่อสวดมนต์ที่ทำขึ้นจากเนื้อหนังมังสาของมนุษย์” ฟังแค่ชื่ออาจจะรู้สึกเหมือนว่าเป็นเรื่องแนวปรัชญา ซึ่งมันก็เป็นอย่างนั้น เพราะโดยเนื้อแท้เป็นนิยายบ่งบอกโทษของการไม่รู้จักบันยะบันยังในเรื่องทางเพศ โดยมี บัณฑิตก่อนเที่ยงคืน เป็นตัวเอก

Continue reading บัณฑิตก่อนเที่ยงคืน

คัทซูชิตะ โฮกุไซ ปรมาจารย์ภาพวาดสมัยเอโดะ

คัทซูชิตะ โฮกุไซ เป็นศิลปินญี่ปุ่นผู้มีชื่อเสียงสมัยเอโดะ ภาพเขียนของท่านส่งอิทธิพลต่อศิลปินรุ่นหลังในสายชุนกะ รวมถึงงานศิลปะของชาวตะวันตกด้วย ผลงานของท่านหลายภาพ โดนผลิตซ้ำ ล้อเลียน สดุดี เชื่อว่าบางภาพ ท่านผู้อ่านน่าจะเคยผ่านตามาแล้ว เพียงแต่ไม่ทราบว่าต้นฉบับเป็นผลงานของท่าน

Continue reading คัทซูชิตะ โฮกุไซ ปรมาจารย์ภาพวาดสมัยเอโดะ

กลิ่นใคร่ในไอรัก: มายาและมารยา

กลิ่นใคร่ในไอรัก ผลงานของ ไพลิน เจนเกียรติ’ ถือเป็นงานในช่วงหลังน่าจะเกือบหลังสุด เพราะปัจจุบันหายไป ไม่เห็นผลงานอื่นหลังจากนี้ (เหมือนจะมีตามมาอีกเล่มหรือสองเล่ม)

หนังสือของเธอมีเนื้อหาเชิงสังวาสแทรกเข้ามาเป็นระยะ ทำให้ผู้เบื่อหน่ายเรื่องราวความรักบริสุทธิ์อุตมบรรเจิดได้มีที่พักทางสายตา

Continue reading กลิ่นใคร่ในไอรัก: มายาและมารยา
Exit mobile version