หนึ่งร้อยปีแห่งความโดดเดี่ยว

“หนึ่งร้อยปีแห่งความโดดเดี่ยว” (One Hundred Years of Solitude) ประพันธ์โดยกาเบรียล การ์เซีย มาร์เกซ (Gabriel García Márquez) นักประพันธ์รางวัลโนเบลชาวโคลอมเบีย เผยแพร่ครั้งแรกเป็นภาษาสเปน “เซียน อาญอส เด โซเลดาด” (Cien años de soledad) เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๑๐

Continue reading หนึ่งร้อยปีแห่งความโดดเดี่ยว

คดีลิขสิทธิ์ อกาธา คริสตี้

คดีลิขสิทธิ์ อกาธา คริสตี้ เกิดขึ้นเมื่อปีพ.ศ. ๒๕๓๙ ตัวแทนจากสำนักพิมพ์เรือสัมปั้นที่ได้รับลิขสิทธิ์ให้จัดพิมพ์แต่เพียงผู้เดียวในประเทศไทยจากบริษัท อกาธา คริสตี้ ผู้ถือลิขสิทธิ์วรรณกรรมของอกาธา คริสตี้ ฟ้องศาลว่าบริษัทสร้างสรรค์-วิชาการ และพวก แปลและจำหน่ายนวนิยายของ อกาธา คริสตี โดยไม่ได้รับอนุญาต โดยเรียกเงินค่าเสียหายเป็นจำนวน ๓๕ ล้านบาท ซึ่ง คดีลิขสิทธิ์ อกาธา คริสตี้นี้เป็นกรณีตัวอย่างที่น่าสนใจมากในประวัติศาสตร์ด้านการแปลของไทย

อ่านต่อ

Thailand, ทำไมไม่ Tai และทำไมต้องมี land

สยามเปลี่ยนชื่อเป็น ไทย ในปี พ.ศ. ๒๔๘๒ สมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรีสมัยแรก และกำหนดว่าถ้าเป็นภาษาอังกฤษจงเรียกว่า Thailand

Continue reading Thailand, ทำไมไม่ Tai และทำไมต้องมี land

คลีโอพัตรา ผิวเธอสีอะไร?

คลีโอพัตรา สัญลักษณ์แห่งความงามและอำนาจ เรามีเรื่องดราม่าเกิดขึ้นในโลกบันเทิง โปรเจ็กต์ล่าสุดของ Netflix เรื่อง Queen Cleopatra กำลังสร้างความปั่นป่วนในหมู่ชาวอียิปต์เนื่องจากการคัดเลือกนักแสดงหญิงชาวอังกฤษ เอเดล เจมส์ (Adele James) ผู้มีผิวกายสีดำมารับบทราชินีผู้เลอโฉมแห่งไอยคุปต์

เรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องเล่น ๆ เมื่อทนายความคนหนึ่งได้ดำเนินการทางกฎหมายโดยอ้างถึงความไม่ถูกต้องทางประวัติศาสตร์และความไม่สนใจทางวัฒนธรรมของผู้สร้าง

อเดล เจมส์ Queen Cleopatra / Netflix
Continue reading คลีโอพัตรา ผิวเธอสีอะไร?

คดีลิขสิทธิ์ หนึ่งร้อยปีแห่งความโดดเดี่ยว 

คดีลิขสิทธิ์ หนึ่งร้อยปีแห่งความโดดเดี่ยว มีความน่าสนใจในตัวเองหลายประการ ทั้งในเรื่องกฎหมาย และเรื่องความเหมาะสม และบรรทัดฐานที่พึงมีในธุรกิจการพิมพ์

Continue reading คดีลิขสิทธิ์ หนึ่งร้อยปีแห่งความโดดเดี่ยว 

Devil Horn

If you’re a metal fan, you’re undoubtedly familiar with the iconic hand gesture – the Devil Horn! Stretch out your index finger and little finger, and there it is! 

But what you might not know is that this hand symbol, despite its sinister name, has a history that reaches back to ancient Greece. Join us on a journey to uncover the true origin and meaning of this fascinating symbol, as we navigate through the realms of myth and rock ‘n’ roll!

Continue reading Devil Horn

Satan

Satan (ซาตาน หรือ เซตาน) เป็นความเชื่อที่เก่าแก่จนดูเหมือนว่าจะสืบเนื่องกันมาพร้อมๆ กับความเชื่อในเรื่องของพระเจ้าของชาวยิว (และคริสเตียน)  ส่วนใหญ่ จะเชื่อในนิทานที่ว่า…เดิมทีซาตานเป็นเทวทูตระดับ Archangel (อัครเทพ – คือเป็นระดับหัวหน้าเทวดาทั้งหลาย) ที่ชื่อลูซิเฟอร์ (Lucifer) แต่เมื่อพระเจ้าประสงค์จะเนรมิตมนุษย์ตามรูปแบบของเทพ  ก็ไม่ยอมรับใช้พระเจ้าต่อ เพราะความยะโสทะนงตัวจนไม่อาจจะยอมให้มนุษย์ที่ต่ำช้ามาใช้รูปร่างแบบเทพ

Continue reading Satan

Ramona Quimby

รู้จัก ราโมนา ควิมบี มั้ย? Ramona Quimby หรือจะเรียกให้เต็มยศว่า Ramona Geraldine Quimby หรือที่เจ้าตัวแนะนำตัวเองว่า Ramona Q น่ะ

ราโมนา คิว ของแท้ ตัวคิว ต้องมีหางสวยงาม มีหูแมว มีหนวดแมว เพราะตัวคิวเหมือนกับแมวหันหลัง!

ราโมนาคนนี้แหละ

Continue reading Ramona Quimby

Vincent And The Doctor

Oh boy, where do I even begin? As a die-hard fan of Doctor Who, I have to say that “Vincent and the Doctor” was an absolute masterpiece that truly touched my heartstrings! I mean, who wouldn’t be moved by the incredible story of the Doctor and his companion travelling back in time to meet the legendary artist Vincent Van Gogh himself?!

Continue reading Vincent And The Doctor

Richard Prince

มีคำกล่าว่า Good artists copy, great artists steal – ศิลปินที่ดีลอกเลียน ศิลปินที่ยิ่งใหญ่ขโมย ริชาร์ด พรินซ์ (Richard Prince) ทำตัวอย่างให้เห็นว่าเขาเป็นศิลปินที่ยิ่งใหญ่…ด้วยการขโมยภาพคนอื่นมาใช้ดื้อ ๆ ! อย่างเช่นผลงานในชื่อ “นิวพอร์ทเทรทส์” (New Portraits) เขาจับภาพหน้าจออินสตาแกรมมาขยายขนาดใหญ่ ทุกอย่างเหมือนกับที่ดูอินสตาแกรมตามปกติ เพียงแต่มีขนาดใหญ่ ทุกภาพจะมีชื่อริชาร์ด พรินซ์แสดงความคิดเห็นต่อรูปภาพนั้นอยู่ด้วย

แต่ในความคิดเห็นนั้นเขาไม่ได้บอกเจ้าของภาพว่าจะนำภาพของบุคคลเหล่านั้นไปขาย

และขายในราคาแพงถึง ๑๐๐,๐๐๐ ดอลลาร์สหรัฐ

Continue reading Richard Prince

บัณฑิตก่อนเที่ยงคืน

อีกไม่กี่นาทีก็จะถึงเที่ยงคืน ในยามนี้อ่านหนังสือเพียงลำพัง  และเลือก บัณฑิตก่อนเที่ยงคืน เป็นเพื่อน

เรื่องนี้  แปลจาก โย่ว ผู-ถวน ของ ลี่ หยู โดยคุณ ชลันธร แปลเป็นไทยว่า ” อาสนะแห่งเลือดเนื้อ” หรือ “เสื่อสวดมนต์ที่ทำขึ้นจากเนื้อหนังมังสาของมนุษย์” ฟังแค่ชื่ออาจจะรู้สึกเหมือนว่าเป็นเรื่องแนวปรัชญา ซึ่งมันก็เป็นอย่างนั้น เพราะโดยเนื้อแท้เป็นนิยายบ่งบอกโทษของการไม่รู้จักบันยะบันยังในเรื่องทางเพศ โดยมี บัณฑิตก่อนเที่ยงคืน เป็นตัวเอก

Continue reading บัณฑิตก่อนเที่ยงคืน

ก็องดิด – Candide

ก็องดิด หรือ Candide เป็นหนังสือนวนิยายแนวปรัชญาของ วอลแตร์ ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปีค.ศ. ๑๗๕๙ โดยเนื้อหาของเรื่องนี้แสดงความคิดไม่เห็นด้วยกับหลักปรัชญาสุทรรศนิยม (optimism) ของ ก็อทฟรีท วิลเฮ็ล์ม ไลบนิทซ์ (Gottfried Wilhelm von Leibniz) ซึ่งเป็นหนึ่งในกระบวนความคิดใหม่ หรือ นวยุค (Modern paradigm) หรือยุคที่เริ่มเกิดความเชื่ออย่างใหม่ที่ไม่ยึดติดกับศาสนามากนัก โดยมุมมองของสุทรรศนิยม คือมองว่า ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นล้วนเป็นสิ่งดี

Continue reading ก็องดิด – Candide

The Origin of the World: ต้นกำเนิดโลกของ กุสตาฟว์ กูร์แบ

The Origin of the World หรือ L’Origine du monde หรือ ต้นกำเนิดโลก เป็นผลงานของ กุสตาฟว์ กูร์แบ เมื่อปีค.ศ. ๑๘๘๖ เป็นรูปช่วงกลางของสตรีนางหนึ่งนอนเปลือยแยกขา เห็นเส้นขนบนเนินโยนีเต็มตา

Continue reading The Origin of the World: ต้นกำเนิดโลกของ กุสตาฟว์ กูร์แบ

Southern Mail – ไปรษณีย์ใต้

Southern Mail หรือ ไปรษณีย์ใต้ (หรือ Courrier sud ตามต้นฉบับเดิม) เป็นนิยายของ อ็องตวน เดอ แซ็งแตกซูว์เปรี (Antoine de Saint-Exupéry) พิมพ์ครั้งแรกปีค.ศ. ๑๙๒๙

Continue reading Southern Mail – ไปรษณีย์ใต้

Geoffrey Fisher

Geoffrey Fisher หรือ บารอน ฟิชเชอร์แห่งแลมเบ็ธ หรืออาร์คบิช็อปแห่งแคนเทอร์เบอร์รี (ระหว่างปี ๑๙๔๕–๑๙๖๑) มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์โลกคือท่านเป็นผู้สวมมงกุฎในวันราชาภิเษกของสมเด็จราชินีนาถอิลิซาเบ็ธที่สองแห่งอังกฤษ เมื่อวันที่ ๒ มิถุนายน ๑๙๕๓

Continue reading Geoffrey Fisher
Exit mobile version